โดย Bangkok Art and Culture Centre
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ภาพหมู่พระบรมวงศานุวงศ์รุ่นเล็ก (1904) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๓๙๔-๒๔๑๑) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์สยามพระองค์แรกที่อนุญาตให้ช่างภาพถ่ายภาพได้ ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนด้วยเหตุนี้เอง พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในยุคแรก จึงถูกส่งไปเป็นของขวัญให้กับประมุขของรัฐในต่างประเทศเพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ของสยาม
รัชกาลที่ ๕ ทรงถือกล้องถ่ายรูป (1903/1906) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre
ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การถ่ายภาพได้รับความนิยมขึ้นอย่างมาก ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากความสนพระทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรูปแบบงานศิลปะ
มีภาพถ่ายจำนวนมากที่ถ่ายในช่วงเวลานี้ และภาพถ่ายเหล่านี้ถ่ายโดยพระมหากษัตริย์เอง หรือสมาชิกในราชวงศ์ องค์อื่น ๆ
ภาพถ่ายเหล่านี้เผยให้เห็นช่วงเวลาส่วนพระองค์ ที่อบอุ่นของพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ เป็นช่วงเวลาที่ไม่เคยปรากฎในบันทึก ในรัชกาลก่อน ๆ
ลูกปลัดกรม (1897/1907) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre
ตั้งแต่กระบวนการถ่ายภาพระบบ ดาแกโรไทพ์ ครั้งแรกไปจนถึงระบบฟิล์มกระจกเปียก โคโลเดียน และกระจกแห้งที่ได้รับการปรับปรุงเพิ่มเติม เราจะเจาะลึกประวัติศาสตร์การถ่ายภาพแผ่นฟิล์มกระจกในสยามผ่านการสัมภาษณ์นักประวัติศาสตร์และนักจดหมายเหตุ จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
The History of Glass Plate Photography in SiamBangkok Art and Culture Centre
แตะเพื่อสำรวจ
เชิญชมนิทรรศการ เพื่อเพลิดเพลินไปกับ ประวัติศาสตร์การถ่ายภาพด้วยฟิล์มกระจกของสยาม
กระทรวงวัฒนธรรม
กรมศิลปากร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
มูลนิธิสิริวัฒนภักดี
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมการถ่ายภาพ
Wet Plate and Alternative Process Thailand