โดย Bangkok Art and Culture Centre
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
ห้องมืด (2020/2020) โดย Nico SepeBangkok Art and Culture Centre
กระบวนการโคโลเดียน ฟิล์มกระจกเปียก ซึ่งเป็นต้นแบบของภาพยนตร์ เป็นการผสมผสานระหว่างศิลปะและวิทยาศาสตร์ แผ่นกระจกจะถูกฉาบด้วยสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำให้ไวต่อแสง แผ่นเคลือบทำหน้าที่เหมือนกาว และเมื่อแผ่นกระจกเคลือบโดนแสงจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมี ทำให้เกิดภาพขึ้น
นี่คือจุดเริ่มต้นของการถ่ายภาพ ตั้งแต่ ฟิล์มกระจกแบบเปียกและแบบแห้ง จนถึงแผ่นฟิล์มที่เรารู้จักกัน และหลังจากฟิล์ม ก็เป็นระบบ ดิจิทัล
ภาพด้านข้างท่านผู้หญิงสิริกิติยาเจนเซ่น (1908) โดย Nico SepeBangkok Art and Culture Centre
ท่านผู้หญิงสิริกิติยา เจนเซน ภัณฑารักษ์ของนิทรรศการฟิล์มกระจก: เรื่องราวเหนือกาลเวลา ได้ใช้เวลาบ่ายวันเสาร์กับช่างภาพกลุ่ม Wet Plate and Alternative Processes.จากกรุงเทพฯ ในการถ่ายภาพด้วยกรรมวิธีโบราณ
ที่เรียกว่ากระบวนการโคโลเดียน ฟิล์มกระจกแบบเปียก
Glass Plate Photography Workshop โดย The CloudBangkok Art and Culture Centre
กระบวนการสร้างภาพ (2020) โดย Nico SepeBangkok Art and Culture Centre
กระบวนการโคโลเดียน ประกอบด้วยหลายขั้นตอน
น้ำยาเคมีที่ใช้เคลือบแผ่นกระจกต้องใช้เวลาเตรียมถึงสามวัน เมื่อแผ่นกระจกเคลือบน้ำยาพร้อมแล้วจึงนำไปบรรจุใส่ไว้ในกล้อง วัตถุที่ถ่ายจะต้องอยู่นิ่งเป็นเวลาถึง 8 วินาที
ภาพด้านหน้าท่านผู้หญิงสิริกิติยาเจนเซ่น (2020) โดย Nico SepeBangkok Art and Culture Centre
ฝาของกล้องซึ่งใช้ในการควบคุมความเร็วชัตเตอร์จะถูกนำออก และถ่ายภาพ
กระทรวงวัฒนธรรม
กรมศิลปากร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
มูลนิธิสิริวัฒนภักดี
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมการถ่ายภาพ
Wet Plate and Alternative Process Thailand