ตติยบรรพ ตะวันออกบรรจบตะวันตก

สำรวจอารยธรรมตะวันตกพบตะวันออก ผ่านภาพชุดนี้ ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ถึงกลางศตวรรษที่ 20

โดย Bangkok Art and Culture Centre

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

สระว่ายน้ำที่ราชกรีฑาสโมสร (1932) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

แม้ชาวตะวันตกจะเข้ามาในสยามตั้งแต่ก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ว่าจะเป็นมิชชันนารีผู้เผยแผ่ศาสนา หรือครูฝรั่งที่สอนหนังสือแก่เด็ก หากแต่ในรัชสมัยนี้เองที่เห็นได้ชัดเจนว่า ชาวตะวันตกมีบทบาทต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวสยามมากขึ้น (๒๔๑๑-๒๔๕๓)

นักเรียนโรงเรียนเซนต์คาเบรียล (1921/1927) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

ภาพหมู่นักเรียนโรงเรียนเซนต์คาเบรียลและคณาจารย์ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ในกรุงเทพฯ ภาพนี้ถ่ายที่หน้าตึก มาร์ติน เดอ ตูร์ส หรือ ตึกแดง

นักเรียนโรงเรียนบาลีไวยากรณ์ (1911/1922) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

นักเรียนโรงเรียนบาลีไวยากรณ์ วัดเบญจมบพิตร พระภิกษุในภาพ คือ พระราชเวที (หรุ่ม พรหมโชติโก) พระราชาคณะรูปแรกของวัดเบญจมบพิตร

เรือเบอร์ม่า (1900) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

อย่างไรก็ตามในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ได้แสดงถึงความเจริญทางวัฒนธรรมแบบตะวันตกที่ผสมผสานเข้ากับชีวิตประจำวันของชาวสยาม

โรงพยาบาลเนอสซิงโฮม (1912) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงโปรดเกล้าฯ ให้ชาวยุโรปที่มีความรู้ความสามารถหลายคน เช่น สถาปนิกและศิลปินชาวอิตาเลียน

ห้องพักผู้ป่วยภายใน (1912) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

แพทย์ และพยาบาล

ห้องพักผู้ป่วย (1912) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

สถาปนิกและศิลปินชาวอิตาเลียน ได้ทำงานร่วมกับช่างฝีมือชาวสยาม

ห้าง ย.ร.อันเดร (1904/1910) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

ลักษณาการแห่ง “ตะวันออกบรรจบตะวันตก” นี้ได้ดำเนินเรื่อยมาและพัฒนาจนถึงจุดสูงสุดในรัชสมัยของพระองค์เอง และพระราชโอรสทั้งสอง ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ชายชาวยุโรปถ่ายภาพกับรถยนต์ (1925/1929) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

ทำให้ชาวสยามได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของชาวตะวันตก

ภาพชายชาวยุโรปกับรถยนต์ (1925/1929) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

ตลอดจนวิธีการทำงาน และปฏิสัมพันธ์กับชาวสยามในช่วงต้นศตวรรษที่ ๒๐

บ้านไม้ช่วงสมัยรัชกาลที่๖ (1910/1925) โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติBangkok Art and Culture Centre

ความเคลื่อนไหวนี้ ทำให้สยามกลายเป็นแหล่งผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก

แตะเพื่อสำรวจ

เชิญชมนิทรรศการ เพื่อเพลิดเพลินไปกับ ตติยบรรพ ตะวันออกบรรจบตะวันตก

เครดิต: เรื่องราว

กระทรวงวัฒนธรรม
กรมศิลปากร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
มูลนิธิสิริวัฒนภักดี
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมการถ่ายภาพ
Wet Plate and Alternative Process Thailand

เครดิต: สื่อทั้งหมด
เรื่องราวที่นำเสนอบางเรื่องเขียนขึ้นโดยบุคคลหรือหน่วยงานอิสระภายนอก ซึ่งอาจแสดงมุมมองที่แตกต่างไปจากพิพิธภัณฑ์ที่อนุเคราะห์รูปภาพตามรายชื่อด้านล่าง
เรื่องราวจาก Bangkok Art and Culture Centre
หน้าแรก
สำรวจ
เล่น
ใกล้เคียง
รายการโปรด